04-060-101,Computer Programming
คำอธิบายรายวิชา
วิชาบังคับก่อน:-
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับแนวคิด และองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การอัตรกิริยา
(Interaction)ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์การประมวลผลข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ วิธีการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง การประยุกต์ใช้โปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางวิศวกรรม
1.วัตถุประสงค์
นักศึกษาจะได้เรียนรู้ถึง :
- พื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
- พื้นฐานการเขียนรายงานและการเขียนผังงาน
- โครงสร้างของภาษา C
- การนำไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับงานวิศวกรรม
- การนำไปเป็นพื้นฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาอื่น
- เนื้อหาของวิชา (Course Contents)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ :
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์
1.1 โครงสร้างของคอมพิวเตอร์
1.2 ภาษาสั่งงาน
1.3 การจำแนกภาษาสั่งงาน
1.4 คอมพิวเตอร์มีกี่ชนิด
1.5 ประเภทของซอฟต์แวร์
1.6 ข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์
1.7 การเขียนผังงาน
1.8 ส่วนประกอบของโปรแกรมภาษา C
1.9 ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมภาษา C
บทที่ 2 ชนิดของข้อมูล
2.1 ข้อมูลชนิดตัวเลข
2.2 ข้อมูลที่ไม่ใช่ชนิดตัวเลข
2.3 ตัวแปรและการประกาศตัวแปร
2.4 ค่าคงที่
บทที่ 3 ตัวปฏิบัติการและนิพจน์
3.1 ตัวปฏิบัติการ
3.1.1 ตัวปฏิบัติการกำหนดค่า
3.1.2 ตัวปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์
3.1.3 ตัวปฏิบัติการระดับบิต
3.1.4 ตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบ
3.1.5 ตัวปฏิบัติการลอจิก
3.1.6 ตัวปฏิบัติการเงื่อนไข
3.1.7 ตัวปฏิบัติการพิเศษ
3.2 นิพจน์
บทที่ 4 การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้
4.1 การแสดงผลทางจอภาพ
4.1.1 ฟังก์ชันชนิดไม่กำหนดรูปแบบ
4.1.2 ฟังก์ชันชนิดกำหนดรูปแบบ
4.2 การรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์
4.2.1 การรับข้อมูลในลักษณะไม่มีรูปแบบ
4.2.2 การรับข้อมูลในลักษณะมีรูปแบบ
บทที่ 5 การควบคุมแบบมีเงื่อนไข
5.1 การควบคุมโดยใช้ประโยค if(if-else statement)
5.1.1 แบบทางเดียว
5.1.2 แบบสองทาง
5.1.3 แบบหลายทาง
5.1.4 แบบ if ซ้อน if
5.2 การควบคุมโดยใช้ประโยค switch
บทที่ 6 การควบคุมแบบวนรอบ
6.1 การควบคุมโดยใช้ประโยค while
6.2 การควบคุมโดยใช้ประโยค do…while(do-while statement)
6.3 การควบคุมโดยใช้ประโยค for (for statement)
บทที่ 7 ตัวแปรชุด
7.1 อะเรย์ 1 มิติ
7.2 อะเรย์หลายมิติ
7.2.1 อะเรย์ 2 มิติ
7.2.1 อะเรย์ 3 มิติ
บทที่ 8 ตัวแปรพอยน์เตอร์
8.1 การอ้างหน่วยความจำด้วยเครื่องหมายแอมเพอร์แซนด์ (Using &)
8.2 การอ้างหน่วยความจำด้วยตัวแปรพอยน์เตอร์
8.2.1 ตัวแปรพอยน์เตอร์ที่ประกาศโดยตัวแปรอะเรย์
8.2.2 ตัวแปรพอยน์เตอร์ที่ประกาศโดยเครื่องหมายแอสเทอริสต์ (*)
บทที่ 9 การประมวลผลสตริง
9.1 การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับสตริง
9.2 ฟังก์ชันสำหรับสตริง
9.2.1 ฟังก์ชันสำหรับการหาความยาว
9.2.2 ฟังก์ชันสำหรับการสำเนาข้อมูล
9.2.3 ฟังก์ชันสำหรับการเปรียบเทียบและค้นหาข้อมูล
9.2.4 ฟังก์ชันสำหรับการรวมและการตั้งค่า
9.2.5 ฟังก์ชันสำหรับการกลับตำแหน่งข้อมูล
9.2.6 ฟังก์ชันสำหรับการแปลงค่าในสตริง
บทที่ 10 ข้อมูลแบบสตรัคเจอร์และยูเนียน
10.1 ข้อมูลแบบระเบียนหรือข้อมูลเรคอร์ด
10.1.1 โครงสร้างข้อมูลเรคอร์ด
10.1.2 โครงสร้างข้อมูลเรคอร์ดซ้อนเรคอร์ด
10.2 ข้อมูลสตรัคเจอร์
10.2.1 การกำหนดรูปแบบข้อมูลแบบสตัคเจอร์
10.2.2 การกำหนค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรสตรัคเจอร์
10.2.3 การติดต่อข้อมูลแต่ละส่วนในสตรัคเจอร์
10.2.4 ข้อมูลสตรัคเจอร์ซ้อนสตรัคเจอร์
10.3 ยูเนียน
บทที่ 11 ฟังก์ชันและมาโคร
11.1 ชนิดของฟังก์ชัน
11.1.1 ฟังก์ชันที่ไม่มีการส่งผ่านทางอากิวเมนต์
11.1.2 ฟังก์ชันที่มีการส่งผ่านทางอากิวเมนต์
11.2 การเขียน Prototype สำหรับฟังก์ชัน
11.3 ขอบเขตของตัวแปรสำหรับฟังก์ชัน
11.3.1 ตัวแปรท้องถิ่น
11.3.2 ตัวแปรคลุม
11.3.3 ตัวแปรคงอยู่
11.3.4 ตัวแปรรีจิสเตอร์
11.3.5 ตัวแปรเอ็กเทอร์น
11.4 มาโคร
11.5 พอยน์เตอร์ชี้ฟังก์ชัน
บทที่ 12 การติดต่อกับไฟล์
12.1 ขั้นตอนการเปิดและปิดไพล์
12.1.1 การเปิดไฟล์
12.1.2 การปิดไฟล์
12.2 การเข้าถึงไฟล์ข้อมูลระดับอักขระและข้อความ
12.2.1 การอ่านข้อมูลจากไฟล์
12.2.2 การเขียนข้อมูลลงไฟล์
12.3 การเข้าถึงไฟล์ด้วยการอ่านและการเขียนในระดับเรคอร์ด
12.3.1 อ่านข้อมูลจากไฟล์เป็นเรคอร์ด้วยคำสั่ง fread( )
12.3.2 เขียนข้อมูลลงไฟล์เป็นเรคอร์ดด้วยคำสั่ง fwrite( )
12.4 การชี้ตำแหน่งข้อมูลในไฟล์
12.5 การจัดการกับไฟล์
12.5.1 การลบไฟล์
12.5.2 การเปลี่ยนชื่อไฟล์
- วิธีการสอน (Method of teaching)
- มอบหมายงานภายในคาบเรียน
- อธิบายเพิ่มเติมในส่วนที่คิดว่าเหมาะสม
- การประเมินผล
- Attention 30 %
- Midterm Exam 30 %
- Final Exam 40 %
- เอกสารอ้างอิง
|